
สถานีอวกาศนาซ่า
นาซ่าได้ประกาศแผนการ ที่จะให้นักท่องเที่ยวขึ้นไปเยี่ยมชมสถานีอวกาศนานาชาติในปีหน้าซึ่งจะอนุญาตให้นักบินอวกาศ รับงานส่วนตัวนี้ ได้มากถึงสองภารกิจต่อปี ได้มากที่สุดในครั้งละ 30 วัน
(แต่เดี๋ยวนะ..?? คนอเมริกันได้คิวก่อน)
การประกาศทางทวิตเตอร์ของน่าซ่า เผยถึงรูปแบบธุรกิจใหม่ในวันนี้ (วันศกร์) เรื่องแผนการร่วมโอกาสทางการค้าและการตลาดมากขึ้นในวงโคจรของโลกและรอบดวงจันทร์
นายเจฟฟ์ เดวิด ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน สำนักงานใหญ่องค์การนาซ่า กล่าวว่าเป็นเรื่องที่น่าทึ่งมากนาซ่ากำลังจะเปิดสถานีโอกาสเพื่อให้เป็นธุรกิจและการตลาดสร้างโอกาสเหล่านี้อย่างที่ไม่เคยทำมาก่อน
Today, we’re sharing details about our plan to open the @Space_Station to commercial and marketing activities. Find out more: https://t.co/VJnMEmxNT8
🕙: 10am ET
📺: https://t.co/mzKW5uV4hS
❓: #askNASA pic.twitter.com/H2d2v9VgmW— NASA (@NASA) June 7, 2019
การสร้างยานพาหนะเชิงพาณิชย์ที่กำลังจะมีขึ้น ถือเป็นการขนส่งนักบินอวกาศซึ่งจะเอื้อประโยชน์ในการทำงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน
ภารกิจท่องเที่ยวอวกาศสั้นๆ จะเป็นสร้างโอกาสทางเงินทุนการทำงาน ซึ่งคาดว่าจะเปิดตัวเร็วที่สุดภายในปี 2020
มีหน่วยงานจำนวนมากมาย ที่เพิ่งพายานอวกาศของอเมริกา ดังนั้นเพื่อพัฒนาภายใต้โครงการลูกเรือในเชิงพาณิชย์ ของหน่วยงานนาซ่า จะทำให้เป็นการใช้งานทางด้านเศรษฐกิจที่มีอนาคตสดใสยิ่งขึ้น
โดยเฉพาะสถานีอวกาศในวงโคจรต่ำของโลก จะเป็นการขับเคลื่อน และมีโอกาสทำให้ชาวอเมริกันทุกคน สามารถเข้าถึงสถานที่อวกาศได้มากยิ่งขึ้น
ขั้นตอนสำคัญในการเดินทาง ก็คือการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเต็มพิกัดไปยังเป้าหมายและลงจอดโดย คริสติน่า คุกช์ นักบินอวกาศผู้หญิงคนแรก และมุ่งหน้าไปยังดวงจันทร์ในขั้นต่อไป
นักบินอวกาศหญิง คริสติน่า คุกช์ คลิป Twitter/NASA
.@Space_Station is open for commercial business! Watch @Astro_Christina talk about the steps we're taking to make our orbiting laboratory accessible to all Americans. pic.twitter.com/xLp2CpMC2x
— NASA (@NASA) June 7, 2019
การเปิดโครงการนี้ถือว่าเป็นเปิดโฉมหน้าสำคัญในการทำธุรกิจบนวงโคจรรอบโลกและรอบดวงจันทร์ซึ่งองค์การนาซ่าได้เคยทำการทดสอบเทคโนโลยีฝึกอบรมนักบินอวกาศและพัฒนาสถานหนักมนุษย์อย่างยั่งยืน
อย่างไรก็ตาม นาซ่าเปิดโอกาสให้ชาวอเมริกัน เป็นผู้ที่มีโอกาสได้เดินทางไปก่อนชาติอื่นๆ
เนื้อหาเพิ่มเติม : www.nasa.gov
Hits: 131